มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ(FOPDEV)
Foundation for Older Persons" Development
Foundation for Older Persons" Development
ติดต่อ : เลขที่ 6 (338), ซอย 17, ถนน นิมมาเหมินทร์, จ. เชียงใหม่, 50200
โทรศัพท์ : 0-5321-5671, 0-5321-5676
โทรสาร : 0-5322-4616
โทรศัพท์ : 0-5321-5671, 0-5321-5676
โทรสาร : 0-5322-4616
อีเมลล์ : sawang@fopdev.org
เว็บไซต์ : http://www.fopdev.org
เว็บไซต์ : http://www.fopdev.org
แนะนำมูลนิธิ :
ประวัติความเป็นมาของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ
มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ เป็นเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานเพื่อสาธารณประโยชน์โดยไม่แสวงหาผลกำไร โดยภาระกิจหลักของมูลนิธิฯ ได้แก่ การลดภาวะความยากจนของผู้สูงอายุในรูปของการพัฒนากิจกรรมหรือโครงการส่งเสริมอาชีพและรายได้แก่ผู้สูงอายุรวมทั้งสมาชิกในครอบครัวของผู้สูงอายุที่ประสงค์จะทำงาน ,การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน, บุคคลการ, และองค์กรที่ทำงานด้านผู้สูงอายุตลอดจนผู้สูงอายุเองในรูปของการจัดฝึกอบรม, สัมมนา, เวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน การรณรงค์เพื่อให้สาธารณชนตระหนักถึงปัญหาความจำเป็นทั้งในภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนทั่วประเทศ ทั้งนี้เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสในประเทศไทยให้ดีขึ้น อ่านต่อ [ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย พ.ศ. ๒๕๔๒]
ข้อมูลเกี่ยวกับมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ:
มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุก่อตั้งขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การช่วยเหลือผู้สูงอายุระหว่างประเทศ (Help Age International) ได้รับการอนุมัติให้จดทะเบียนเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนเพื่อสาธารณประโยชน์โดยไม่แสวงหาผลกำไร ประเภทมูลนิธิ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2542 เลขที่อนุญาต ต.379/2542 และได้จดทะเบียนกับจังหวัดเชียงใหม่เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2542 ภายใต้ทะเบียนเลขที่ ชม.16
มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุได้ริเริ่มและพัฒนาโครงการต่างๆโดยเน้นแนวคิดในการให้ความช่วยเหลือแบบยั่งยืน ซึ่งไม่เฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุเท่านั้นจะที่ได้รับประโยชน์ แต่มูลนิธิฯต้องการให้ทุกๆคนในชุมชนได้รับประโยชน์จากโครงการต่างๆของมูลนิธิฯด้วย จุดมุ่งหมายหลักของโครงการต่างๆคือการแก้ปัญหาความยากจนโดยการสร้างรายได้ในชุมชน อีกทั้งยังผลักดันให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการและกระตุ้นให้คนในชุมชนได้ดูแลซึ่งกันและกัน
ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกับโครงการของทางมูลนิธิฯนั้นมีทั้งหมด 1,698 คนจาก 9 พื้นที่ในแถบภาคเหนือของประเทศและทางมูลนิธิฯกำลังขยายขอบเขตในการให้ความช่วยเหลือในหลายๆจังหวัดทั่วประเทศโดยความร่วมมือระหว่างมูลนิธิฯและองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ โครงการที่ทางมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุได้ดำเนินการอยู่ในหลายจังหวัดทั่วประเทศไทย ได้แก่ โครงการเบี้ยยังชีพประยุกต์ (MAAG) โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุชนบท(REED), โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุในชุมชนเมือง(CEED)
หน้าที่ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ คือ ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย
ประเด็นหลักที่มูลนิธิฯให้ความสำคัญ คือ การลดภาวะความยากจนของผู้สูงอายุ, การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง, การกระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ, ให้การสนับสนุนในฐานะเป็นกระบอกเสียงของชุมชน, การพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในชุมชน, รวมไปถึงการรณรงค์และเฝ้าระวังปัญหาโรคเอดส์
[บทสัมภาษณ์ ดร.เมืองทอง แขมมณี, ผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ และ ประธานคณะกรรมการบริหารของมูลนิธิฯ]
โครงการต่างๆที่ทางมูลนิธิฯได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันนั้นมีแนวคิดแบบผสมผสานในการสร้างรายได้และในขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้สมาชิกในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การทำงานของทางมูลนิธิฯนั้นอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงและต้องการให้ชุมชนดูแลชุมชนโดยมุ่งเน้นไปที่กลุ่มผู้สูงอายุเป็นหลัก ทางมูลนิธิฯต้องการให้กลุ่มผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมกับชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่, สามารถเพิ่งพาตนเองได้ และ ยังสามารถช่วยเหลือผู้อื่นในชุมชนได้อีกด้วย
ประวัติความเป็นมาของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ
มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ เป็นเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานเพื่อสาธารณประโยชน์โดยไม่แสวงหาผลกำไร โดยภาระกิจหลักของมูลนิธิฯ ได้แก่ การลดภาวะความยากจนของผู้สูงอายุในรูปของการพัฒนากิจกรรมหรือโครงการส่งเสริมอาชีพและรายได้แก่ผู้สูงอายุรวมทั้งสมาชิกในครอบครัวของผู้สูงอายุที่ประสงค์จะทำงาน ,การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน, บุคคลการ, และองค์กรที่ทำงานด้านผู้สูงอายุตลอดจนผู้สูงอายุเองในรูปของการจัดฝึกอบรม, สัมมนา, เวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน การรณรงค์เพื่อให้สาธารณชนตระหนักถึงปัญหาความจำเป็นทั้งในภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนทั่วประเทศ ทั้งนี้เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสในประเทศไทยให้ดีขึ้น อ่านต่อ [ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย พ.ศ. ๒๕๔๒]
ข้อมูลเกี่ยวกับมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ:
มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุก่อตั้งขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนจากองค์การช่วยเหลือผู้สูงอายุระหว่างประเทศ (Help Age International) ได้รับการอนุมัติให้จดทะเบียนเป็นองค์กรพัฒนาเอกชนเพื่อสาธารณประโยชน์โดยไม่แสวงหาผลกำไร ประเภทมูลนิธิ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2542 เลขที่อนุญาต ต.379/2542 และได้จดทะเบียนกับจังหวัดเชียงใหม่เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2542 ภายใต้ทะเบียนเลขที่ ชม.16
มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุได้ริเริ่มและพัฒนาโครงการต่างๆโดยเน้นแนวคิดในการให้ความช่วยเหลือแบบยั่งยืน ซึ่งไม่เฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุเท่านั้นจะที่ได้รับประโยชน์ แต่มูลนิธิฯต้องการให้ทุกๆคนในชุมชนได้รับประโยชน์จากโครงการต่างๆของมูลนิธิฯด้วย จุดมุ่งหมายหลักของโครงการต่างๆคือการแก้ปัญหาความยากจนโดยการสร้างรายได้ในชุมชน อีกทั้งยังผลักดันให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการและกระตุ้นให้คนในชุมชนได้ดูแลซึ่งกันและกัน
ปัจจุบันจำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกับโครงการของทางมูลนิธิฯนั้นมีทั้งหมด 1,698 คนจาก 9 พื้นที่ในแถบภาคเหนือของประเทศและทางมูลนิธิฯกำลังขยายขอบเขตในการให้ความช่วยเหลือในหลายๆจังหวัดทั่วประเทศโดยความร่วมมือระหว่างมูลนิธิฯและองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ โครงการที่ทางมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุได้ดำเนินการอยู่ในหลายจังหวัดทั่วประเทศไทย ได้แก่ โครงการเบี้ยยังชีพประยุกต์ (MAAG) โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุชนบท(REED), โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุในชุมชนเมือง(CEED)
หน้าที่ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ คือ ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในประเทศไทย
ประเด็นหลักที่มูลนิธิฯให้ความสำคัญ คือ การลดภาวะความยากจนของผู้สูงอายุ, การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง, การกระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ, ให้การสนับสนุนในฐานะเป็นกระบอกเสียงของชุมชน, การพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในชุมชน, รวมไปถึงการรณรงค์และเฝ้าระวังปัญหาโรคเอดส์
[บทสัมภาษณ์ ดร.เมืองทอง แขมมณี, ผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ และ ประธานคณะกรรมการบริหารของมูลนิธิฯ]
โครงการต่างๆที่ทางมูลนิธิฯได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันนั้นมีแนวคิดแบบผสมผสานในการสร้างรายได้และในขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้สมาชิกในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การทำงานของทางมูลนิธิฯนั้นอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงและต้องการให้ชุมชนดูแลชุมชนโดยมุ่งเน้นไปที่กลุ่มผู้สูงอายุเป็นหลัก ทางมูลนิธิฯต้องการให้กลุ่มผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมกับชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่, สามารถเพิ่งพาตนเองได้ และ ยังสามารถช่วยเหลือผู้อื่นในชุมชนได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์ :
ให้การสนับสนุนการพัฒนางานผู้สูงอายุในประเทศไทย ด้านทรัพยากร, การบริหารการจัดการ, จัดหาเงินทุนสนับสนุน
เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องถึงความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน
กระตุ้นหน่วยงานของภาครัฐในการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนต่างๆรวมทั้งสนับสนุนเงินทุนช่วยเหลือในด้านต่างๆ
จัดหาเงินทุนสนับสนุนในด้านต่างๆแก่กิจกรรมและโครงการของผู้สูงอายุในแต่ละชุมชน
จัดการฝึกอบรมในด้านต่างๆเกี่ยวกับการดูและผู้สูงอายุรวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องในการให้การดูและผู้สูงอายุทั้งในชุมชนและในระดับประเทศ
ให้การสนับสนุนการพัฒนางานผู้สูงอายุในประเทศไทย ด้านทรัพยากร, การบริหารการจัดการ, จัดหาเงินทุนสนับสนุน
เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องถึงความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน
กระตุ้นหน่วยงานของภาครัฐในการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชนต่างๆรวมทั้งสนับสนุนเงินทุนช่วยเหลือในด้านต่างๆ
จัดหาเงินทุนสนับสนุนในด้านต่างๆแก่กิจกรรมและโครงการของผู้สูงอายุในแต่ละชุมชน
จัดการฝึกอบรมในด้านต่างๆเกี่ยวกับการดูและผู้สูงอายุรวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องในการให้การดูและผู้สูงอายุทั้งในชุมชนและในระดับประเทศ
กิจกรรมมูลนิธิ :
โครงการเบี้ยยังชีพประยุกต์ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ (MAAG)
โครงการเบี้ยยังชีพต์ประยุกต์ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุนั้น มุ่งเน้นการสร้างรายได้ในชุมชนอีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้คนในชุมชนช่วยดูแลคนในชุมชนด้วยกันเอง แนวความคิดหลักในการให้ความช่วยเหลือของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุนั้นเน้นการช่วยเหลือแบบยั่งยืนและเป็นรูปธรรม
โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุชนบท (REED)
โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุชนบท (REED), ได้รับการสนับสนุนโครงการเป็นอย่างดีจากกองทุนแคนาดา (Canada Fund)
ในการช่วยเหลือทางด้านช่องทางจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ต่างๆที่อยู่ในโครงการสร้างรายได้เสริมในชุมชน รวมถึงโครงการเบี้ยยังชีพประยุกต์ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุด้วย (MAAG)
ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างรายได้ในชุมชนจะได้รับโอกาสการมีส่วนร่วมในการเดินทางไปดูงานและฝึกอบรม ตามสถานที่ต่างๆ รวมถึงการร่วมประชุมหารือและแลกเปลี่ยนทัศนะเป็นประจำ
การจัดการฝึกอบรมในโครงการของมูลนิธิฯนั้นได้แก่ การอบรมการทำบัญชีขั้นต้น, การวางแผนการพัฒนาธุรกิจ, การบริหารการจัดการ, การวางแผนการตลาดและการบริหารการขาย, และ การทำบรรจุภัณฑ์
โครงการเบี้ยยังชีพประยุกต์ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ (MAAG)
โครงการเบี้ยยังชีพต์ประยุกต์ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุนั้น มุ่งเน้นการสร้างรายได้ในชุมชนอีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นให้คนในชุมชนช่วยดูแลคนในชุมชนด้วยกันเอง แนวความคิดหลักในการให้ความช่วยเหลือของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุนั้นเน้นการช่วยเหลือแบบยั่งยืนและเป็นรูปธรรม
โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุชนบท (REED)
โครงการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการผู้สูงอายุชนบท (REED), ได้รับการสนับสนุนโครงการเป็นอย่างดีจากกองทุนแคนาดา (Canada Fund)
ในการช่วยเหลือทางด้านช่องทางจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ต่างๆที่อยู่ในโครงการสร้างรายได้เสริมในชุมชน รวมถึงโครงการเบี้ยยังชีพประยุกต์ของมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุด้วย (MAAG)
ผู้เข้าร่วมโครงการสร้างรายได้ในชุมชนจะได้รับโอกาสการมีส่วนร่วมในการเดินทางไปดูงานและฝึกอบรม ตามสถานที่ต่างๆ รวมถึงการร่วมประชุมหารือและแลกเปลี่ยนทัศนะเป็นประจำ
การจัดการฝึกอบรมในโครงการของมูลนิธิฯนั้นได้แก่ การอบรมการทำบัญชีขั้นต้น, การวางแผนการพัฒนาธุรกิจ, การบริหารการจัดการ, การวางแผนการตลาดและการบริหารการขาย, และ การทำบรรจุภัณฑ์
ขายของได้ทุกที่ บนรถขายขายของเคลื่อนที่ ได้ทั้งของกินและเครื่องดื่ม
ตัวอย่างอาชีพค้าขายที่ไม่ง้อทำเล(รูป)ตอน 1-12
download ...http://bit.ly/2kYAKOt
ตัวอย่างอาชีพค้าขายที่ไม่ง้อทำเล(รูป)ตอน 1-12
download ...http://bit.ly/2kYAKOt
Adv